Page 88 - 025
P. 88
88
ี่
ตารางท 16 การวิเคราะห์เปรยบเทียบสภาพการด าเนินงานวางแผนกลยุทธ์ของโรงเรยน
ี
ี
เอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดสตูล จ าแนกตามตัวแปรเพศ (n = 222)
95% Confidence Interval
สภาพการด าเนินงาน t df Sig. Mean St d. Error of the Difference
วางแผนกลยุทธ์ (2-tailed) Difference Difference
Lower Upper
การเตรียมการวางแผน -.39 220 .69 -.05 .13 -.38 .28
การจัดท าแผน 1.12 220 .27 .11 .10 -.15 .37
การน าแผนไปสู่การปฏิบัติ -.61 220 .54 -.06 .11 -.34 .21
การปรับปรุงแผน 1.25 220 .21 .14 .11 -.15 .42
รวม .09 220 .93 .01 .01 -.24 .26
จากตารางที่ 16 พบว่า การเปรยบเทียบสภาพการด าเนินงานวางแผนกลยุทธ์ของโรงเรยน
ี
ี
เอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดสตูล จ าแนกตามตัวแปรเพศ โดยรวมไม่แตกต่างกัน
ตารางที่ 17 ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของสภาพการด าเนินงานวางแผนกลยุทธ์
ของโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดสตูล จ าแนกตามตัวแปรอายุ (n = 222)
อายุ
ิ
สภาพการด าเนนงานวางแผน
กลยุทธ์ 20 – 29 ปี 30 – 39 ปี 40 – 49 ปี 50 ปีขึ้นไป
S.D. S.D. S.D. S.D.
1. การเตรียมการวางแผน 3.65 .89 3.22 .73 2.99 .80 3.93 .83
2. การจัดท าแผน 3.66 .59 3.40 .71 3.37 .76 4.51 .35
3. การน าแผนไปสู่การปฏิบัติ 3.46 .60 3.19 .75 2.91 .73 3.89 .98
4. การปรับปรุงแผน 3.52 .61 3.29 .70 3.33 1.09 4.12 .72
รวม 3.56 .55 3.26 .69 3.10 .69 4.08 .69
จากตารางที่ 17 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามที่ทีอายุ 50 ปีขึ้นไป มีสภาพการด าเนินงาน
วางแผนกลยุทธ์ของโรงเรยนเอกชนสอนศาสนาอสลามในจังหวัดสตูล โดยรวมอยู่ในระดับมาก
ี
ิ
( = 4.08) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านเรยงล าดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ คือ การจัดท าแผน
ี