Page 67 - 2566
P. 67

หมวด 5 บุคลากร



               สวัสดิการ การเรียนรู้และพัฒนา เส้นทาง

               ความก้าวหน้าในอาชีพ และการใช้งานระบบ
               สารสนเทศต่าง ๆ เมื่อเข้ามาปฏิบัติงานจัดให้มีพ ี่

               เลี้ยงสอนงานขณะปฏิบัติงานเพื่อการถ่ายทอดงาน

               และสร้างความอุ่นใจในการปฏิบัติงาน สนับสนุน
               การพัฒนาและฝึกอบรมเพื่อเพิ่มความรู้ โดย

               บุคลากรใหม่จะต้องผ่านการประเมินการทดลอง
               การปฏิบัติงาน 6 เดือน ตามแบบประเมินที่กำหนด

               โดยพิจารณาจากปริมาณงาน คุณภาพงาน

               สมรรถนะตามตำแหน่งงาน สมรรถนะตามค่านิยม               ภาพที่ 5.1-02 กระบวนการบริหารงานบุคลากรใหม่
               และวัฒนธรรมองค์กร เพื่อมั่นใจว่าบุคลากรใหม่สามารถเข้ากับวัฒนธรรมองค์กรได้ โดยจะสื่อสารผลการ

                                   ั
                                                            ื่
               ประเมินและหัวข้อการพฒนาปรับปรุงไปยังพนักงานเพอสร้างการ รับรู้ร่วมกัน และเปิดโอกาสให้บุคลากรใหม่
               เสนอแนะความต้องการเพอให้สำนักฯ สนับสนุนการทำงานเพอให้งานนั้นสำเร็จ มีช่องทางการสื่อสารกลุ่มเพอ
                                                                  ื่
                                     ื่
                                                                                                        ื่
                                                                                                    ึ
               ความสะดวกรวดเร็วในการติดต่อสื่อสารเพอความพงพอใจและผูกพันองค์กร โดยมีการสอบถามความพงพอใจ
                                                  ื่
                                                          ึ
               ต่อกระบวนการบริหารบุคลากรใหม่เพื่อนำมาปรับปรุงและพัฒนากระบวนการรับบุคลากรใหม่ให้มี
               ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ในปี 2566 มีผลการประเมินความพึงพอใจต่อกระบวนการบริหารบุคลากรใหม่อยู่ใน
               ระดับมาก ร้อยละ 86.60 (ภาพที่ 5.1-02) และมีการทบทวนกระบวนการพี่เลี้ยงสอนงานโดยจัดให้มี Project

               Manager คอยดูแลการปฏิบัติงานอย่างใกล้ชิดจะติดตามงานทุก 6 เดือน กระบวนการดังกล่าวทำให้สำนักฯ
               มั่นใจว่าบุคลากรใหม่จะมีประสิทธิภาพ และสามารถคงอยู่และเป็นหนึ่งเดียวกับวัฒนธรรมและค่านิยมองค์กร

               ได้อย่างดี
               5.1ก(3) การเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร สำนักฯ มี

               การเตรียมความพร้อมของบุคลากรให้พร้อมรับต่อ

               การเปลี่ยนแปลงโดยใช้หลัก 4H (ภาพที่ 5.1-03)
               เมื่อความต้องการด้านขีดความสามารถและ

               อัตรากำลัง ปัจจัยภายนอกทางเทคโนโลยี ความ
               ต้องการของลูกค้าที่เปลี่ยนแปลงไป และการ

               เกษียณอายุงานบุคลากร รวมทั้งโครงสร้างองค์กรที่

               เปลี่ยนแปลงและการลดจำนวนบุคลากรตาม
               นโยบายของมหาวิทยาลัย เพื่อการดำเนินงานที่มี

               ภาระรับผิดชอบพันธกิจที่ชัดเจน แต่ยังคงรักษา            ภาพที่ 5.1-03 การจัดการการเปลี่ยนแปลง

               สมดุลความต้องการของบุคลากรกับองค์กร โดยคำนึงถึงปัจจัยความผูกพันของบุคลากร ในการไม่ลดจำนวนคน
               แต่เพิ่มช่องทางการหารายได้มุ่งเน้นการพัฒนานวัตกรรมเชิงพาณิชย์ขององค์กร โดยคณะกรรมการ HRT มีการ





                                                            61
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72