Page 53 - GL002
P. 53

ู
                                                         นิยำมของกำรสญเสยอำหำร
                                                                        ี
 ำ
 ั
    การให้คานิยามจากรายงานฯ ท้งสองฉบับมิได  ้          และของเสยตลอดห่วงโซ่อำหำร
                                                               ี
 แตกตางกน แตฉบบป 2014 ไดใหคานยามทชดเจนมาก
 ิ
 ั
 ี
 ่
 ั
 ่
 ่
 ำ
 ี
 ้
 ้
 ั
 ขึ้น ดังนี้

    “การสูญเสียอาหารและขยะอาหาร (food loss
 ึ
 and waste, FLW) หมายถึง การสูญเสียอาหารซ่งมีเป้าหมาย
 ั
 ื
 เพ่อการบริโภคจากทุกข้นตอนของห่วงโซ่อุปทานอาหาร
 (food supply chain) ตั้งแต่ขั้นตอนการเก็บเกี่ยวไปจนถึง
 การบริโภค ไม่ว่าด้วยเหตุใดก็ตาม”
    “การสูญเสียอาหาร (food loss) หมายถึง การ
 ้
 ่
 ็
 ้
 ื
 ้
 ่
 ี
 สญเสยสงซงเบองตนตงใจใหเปนอาหารทเกิดขนกอนขนตอน
 ้
 ั
 ั
 ้
 ิ
 ่
 ี
 ่
 ึ
 ึ
 ู
 ้
 การบริโภค ไม่ว่าด้วยเหตุใดก็ตาม”
    “ขยะอาหาร (food waste) หมายถึง สิ่งเหลือทิ้ง
 ในขั้นตอนการบริโภค ไม่ว่าด้วยเหตุใดก็ตาม”
 ิ
 ำ
    ในรายงานฯ ป 2014 ยังได้กาหนดนิยามเพ่มอีกคา
 ำ
 ี
 คือ การสูญเสียคุณภาพอาหาร หรือของเสีย (food quality
 loss and waste, FQLW) หมายถึง การลดลงของคุณลักษณะ
 เชิงคุณภาพของอาหาร เช่น สารอาหาร ทาให้ผลผลิต
 ำ
 ื
 ั
 ั
 อาหารน้นๆ เส่อมสภาพ ในทุกข้นตอนของห่วงโซ่อาหาร
 ตั้งแต่การเก็บเกี่ยวจนถึงการบริโภค
 ยอมรบวา เปนไปไม่ไดทจะลดความสญเสยอาหารให ้
 ั
 ี
 ่
 ่
 ี
 ้
 ู
 ็
 เป็นศูนย์ (zero food loss) แต่ยอมรับว่าความสูญเสีย
 ท่เกิดข้นยังสามารถลดลงได้ เพ่อลดผลกระทบท่เกิดข้น
 ึ
 ี
 ึ
 ื
 ี
 ต่อมาประเทศสหรัฐอเมริกา โดยองค์กรที่ชื่อว่า Universal
 Pure ได้นำาเอานิยามที่ว่านี้ไปใช้และได้จัดทำาเอกสาร “The
 Gross and Growing Problem of Food Waste Trends,
 Stats & Solutions to Help the Global Food Supply
 Chain Reduce Waste” ออกเผยแพร่ ในปี 2017 ได้แสดง
 52                                                                           53
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58