Page 494 - 022
P. 494
494
ี
้
ื
ู
ึ
ู
ดังนั้นการปฏรปการศกษาโดยการปลดแอกสตรออกจากการไม่รหนังสอ (Women’s Illiteracy)
ิ
ิ
ิ
ู
้
ี
ุ
้
พรอมกับรณรงค์เผยแผ่องค์ความรเกี่ยวกับเศาะหาบยาตในทกมตอย่างทั่วถงทกระดับของสังคมจง
ุ
ึ
ึ
ุ
ี่
ี
็
ิ
เปนแนวทางทส าคัญยิ่งในการพัฒนาบทบาทของสตรไทยมสลมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
ิ
ึ
ิ
ประชาชาตมสลมจะพัฒนาก้าวไปข้างหน้าไม่ได้หากสตรซงเปนประชากรครงหนงของสังคมยังคง
ึ
็
ุ
่
่
่
ี
ึ
ู
ี่
้
ื
ี
ึ
ุ
็
ุ
้
ื
ี
่
ึ
อยู่ในสภาพทไม่รหนังสอหรอไรการศกษา ซงสอดคล้องกับความเหนของมหัมมัด อับดฮ์ (มชวิต
ระหว่างป ค.ศ. 1849-1905) นักปฏรปมสลมทส าคัญท่านหนงทเหนว่า ความไม่รหนังสอและไร ้
่
ึ
ี่
ื
็
ุ
ิ
ี่
ู
ิ
ู
้
ี
่
ื่
ี่
ุ
ิ
ี่
ึ
การศกษาของสตรเปนปจจัยทส าคัญทสดทน าพาประชาชาตมสลมให้ตกต าและเสอมถอยลง (Bin
ี่
ุ
ี
็
ิ
ั
ี่
้
Haji Othman, 1993: 117) การพัฒนาทอยู่บนฐานองค์ความรย่อมมความยั่งยืนมากกว่าการพัฒนาท ี่
ู
ี
ู
้
ี่
ี
ึ
็
ู
อยู่บนฐานความรสก องค์ความรเกี่ยวกับเศาะหาบยาตทจะน ามาใช้ในสังคมนั้นจะต้องเปนองค์
้
้
ความรทผ่านระเบยบวิธการจัดการความรทถกต้อง ผ่านกระบวนการวิเคราะหและสังเคราะหอย่าง
์
ี
ู
ี่
ู
้
ี
ี่
ู
์
็
ี
เปนระบบ อกทั้งจะต้องสอดคล้องกับบรบทและความจ าเปนของสังคมอกด้วย
็
ิ
ี
นอกจากสถาบันการศกษาแล้ว สถาบันศาสนาเปนกลไกทส าคัญไม่ยิ่งหย่อนกว่า
ี่
็
ึ
ี
สถาบันการศกษาในการขับเคลอนการพัฒนาบทบาทสตรมสลมสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ให้
ื่
ุ
ิ
ึ
ิ
็
สอดคล้องกับบทบาทของเศาะหาบยาต เพราะเปนสถาบันทมความใกล้ชดและได้รบความศรทธา
ั
ี่
ี
ี
ั
ี่
ิ
ไว้ใจและผูกพันกับสังคมมากทสด การขับเคลอนการพัฒนาบทบาทของสตรมสลมให้ประสบ
ี
ุ
ุ
ื่
ความส าเรจได้นั้น สถาบันศาสนานอกจากต้องมเจตจ านงอย่างชัดเจนทจะพัฒนาส่งเสรมบทบาท
ี่
ิ
็
ี
ื่
็
สตรมสลมแล้ว การขับเคลอนจะต้องเปนไปในทศทางเดยวกันกับสถาบันและองค์กรอนๆ อกด้วย
ุ
ี
ิ
ื่
ิ
ี
ี
แต่อย่างไรก็ตามในปจจบันพบว่า ไม่ปรากฏเหนสตรไทยมสลมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้เข้า
ิ
็
ี
ั
ุ
ุ
ไปมส่วนร่วมในองค์กรศาสนาทั้งในระดับหมู่บ้าน เช่น คณะกรรมการอสลามประจ ามัสยิด หรอ
ิ
ื
ี
็
ระดับจังหวัด เช่น คณะกรรมการอสลามประจ าจังหวัด ทั้งๆ ทองค์กรเหล่าน้เปนองค์กรบรหาร
ี่
ิ
ี
ิ
่
กิจการอสลามทมความใกล้ชดกับสังคมมากทสด ในฐานะทสตรมสลมเปนประชากรครงหนงของ
ุ
็
ุ
ิ
ี่
ี
ิ
ิ
่
ี
ึ
ี่
ึ
ี่
ิ
ุ
ึ
ิ
ี
ั
สังคมพวกนางจงสมควรเข้าไปมส่วนร่วมรบผิดชอบในการบรหารกิจการอสลามร่วมกับบรษด้วย
ุ
ี
็
ี
ี่
โดยเฉพาะอย่างยิ่งกิจการทเกี่ยวข้องกับสตรเปนการเฉพาะและเชอว่าสตรย่อมสามารถเข้าใจและ
ื่
ี
ี
ี
เข้าถงสตรด้วยกันเองมากกว่าคนอน การเข้าไปมส่วนร่วมของสตรในองค์กรศาสนาไม่ได้
ื่
ึ
้
ี่
ิ
ุ
ี
ุ
หมายความว่าสตรเข้าไปแย่งชงพื้นทและอ านาจของบรษ แต่เปนการเสรมแต่งและสรางสรรค์งาน
ิ
็
ี
ิ
ึ
ี
์
ิ
ให้สมบูรณมากยิ่งข้น ทั้งน้เพราะการบรหารกิจการอสลามในสังคมโดยเพศชายเพียงเพศเดยวนั้น
ี
ี
้
ิ
บางคร้ ังไม่อาจเตมเต็มความต้องการของสังคมได้อย่างเต็มรอย นอกจากน้การมส่วนร่วมของสตร ี
ในองค์กรศาสนาทั้งในฐานะคณะกรรมการอสลามประจ ามัสยิด หรอคณะกรรมการอสลามประจ า
ื
ิ
ิ
จังหวัดไม่ขัดกับพระราชบัญญัตการบรหารองค์กรศาสนาอสลาม พุทธศักราช 2540 นอกจากน้ ี
ิ
ิ
ิ
ี
ุ
ี่
ท่านนบมหัมมัด ได้สั่งห้ามไม่ให้ขัดขวางสตรทประสงค์จะมส่วนร่วมในกิจกรรมศาสนา ดังทม ี
ี
ี
ี่