Page 472 - 022
P. 472
472
ี่
ื่
ี่
ี่
ื่
ื่
ี
ห้องอนๆ การทเธอละหมาดในห้องอนๆ ย่อมดกว่าการละหมาดทอนๆในบ้านของเธอ การทเธอ
ละหมาดทบ้านของเธอย่อมดการละหมาดทมัสยิดของกล่มชนของเธอ และการทเธอละหมาดใน
ี่
ี่
ี่
ุ
ี
ุ
ี่
มัสยิดของกล่มชนของเธอย่อมดกว่าการละหมาดทมัสยิดของฉัน...” (Ibn Hanbal: 27090)
1
ี
เมอวิเคราะหถงสถานภาพของหะดษดังกล่าวข้างต้นพบว่ามสถานภาพอยู่ในระดับหะสัน
ึ
ี
์
ื่
ี
ื่
์
ี
ุ
ื
ุ
ี
ี
ิ
ซงความจรงแล้วไม่ได้ขัดแย้งกับหะดษศอฮหอนๆ ทอนญาตหรอสนับสนนให้สตรไปละหมาดญะ
ี่
่
ึ
2
ี่
มาอะฮ์ทมัสยิด ปรากฏการณการละหมาดญะมาอะฮ์ทมัสยิดของบรรดาเศาะหาบยาตในยุคสมัย
์
ี่
ี
็
ี
ี
ี่
์
ของท่านนบ เปนทประจักษ์อย่างชัดเจนทั้งในต าราหะดษทศอฮห ต าราสเราะฮ์และต าราฏอบะ
ี
ี่
ี
กอต แต่อย่างไรก็ตามไม่มอละมาอ์ (นักปราชญ์) ท่านใดทวินจฉัยว่าการละหมาดญะมาอะฮ์ทมัสยิด
ุ
ี่
ิ
ี่
ี
ั
ื
ี
ั
ิ
ี่
ี่
ี่
็
ี่
เปนส่งทวาญบหรอฟรฎส าหรบสตร ในขณะทหน้าทหลักของพวกนางตามทปรากฏในหะดษ
ิ
ี
ู
ิ
ู
ี
ศอฮหก็คอ การดแลงานบ้าน เล้ยงดลกๆ และปรนนบัตต่อสาม (Bukhari: 2554) เมอสตรจะต้อง
ิ
ี
ู
ี
ื่
ู
์
ี
ื
็
เลอกกระท าระหว่างสองกิจกรรมในเวลาเดยวกันย่อมจะต้องเลอกกิจกรรมทเปนภารกิจหลักเปน
ื
็
ี่
ื
ี
่
ื่
ื
ึ
็
ิ
อันดับแรก การไปละหมาดทมัสยิดซงเปนภารกิจเสรมนั้นจะกระท าได้ต่อเมอไม่กระทบหรอไม่ท า
ี่
ี
ิ
ิ
ให้ภารกิจหลักบกพร่อง แต่มได้หมายความว่าการไปละหมาดมัสยิดของสตรมีความประเสรฐน้อย
ี่
กว่าการละหมาดทบ้าน หากการละหมาดทมัสยิดมคณค่าหรอมความประเสรฐน้อยกว่าการละหมาด
ิ
ุ
ี
ื
ี
ี่
ี่
ึ
็
่
ี
ี่
ทบ้าน แสดงว่าการไปละหมาดทมัสยิดของสตรเปนการกระท าทน ามาซงบาป เพราะว่าการเพิ่มการ
ี่
ิ
ี
ี่
ิ
ิ
็
กระท าในส่งทท าให้ความประเสรฐหรอคณค่าเดมน้อยลงย่อมเปนส่งทต้องห้าม กรณน้ ีมความ
ี่
ื
ุ
ิ
ี
ุ
ึ
่
ั
ุ
ิ
ี่
็
แตกต่างกันกับการละท้งการกระท าทเปนสนัตในละหมาด ซงผู้กระท าเพียงแค่ไม่ได้รบผลบญแต่
ไม่ได้รบบาป แตกต่างกันกับการเพิ่มการกระท าใดการกระท าหนงในละหมาดทส่งผลกระทบต่อ
่
ึ
ี่
ั
่
ั
ู
ึ
ี่
การละหมาด ด้วยการกระท าดังกล่าวนั้นท าให้ผลบญส่วนหนงสญหายไปทั้งๆ ทเขาควรจะได้รบผล
ุ
ุ
ิ
ู
ี่
ุ
ึ
บญนั้นหากเขาไม่ได้กระท าส่งนั้น ดังนั้นการกระท าทเพิ่มข้นทส่งผลท าให้ผลบญส่วนหนงสญ
ึ
ี่
่
ี่
หายไปย่อมเปนการกระท าทต้องห้าม (Abu Syuqqah, 1997: 42) หากการไปละหมาดทมัสยิดของ
็
ี่
ุ
ิ
็
ี
ื
ิ
สตรเปนส่งต้องห้าม หรอเปนส่งทไรประโยชน อกทั้งยังส่งผลเชงลบแก่พวกนาง เหตไฉนท่านนบ ี
็
ี่
ี
์
้
ิ
ื
ี
ึ
จงไม่ห้ามบรรดาเศาะหาบยาตออกไปละหมาดทมัสยิด แต่กลับสั่งบรรดาสามหรอผู้ปกครองให้
ี่
ี
ี
ึ
ี่
ี่
็
ุ
อนญาตแก่บรรดาสตรทอยู่ภายใต้การปกครองของพวกเขาไปละหมาดทมัสยิดถงแม้ว่าจะเปนการ
ละหมาดในเวลาค าคนก็ตาม (Bukhari: 899)
่
ื
ี่
ุ
ิ
ิ
ุ
ุ
ี
โดยสรปแล้วควรส่งเสรมและสนับสนนให้สตรมสลมออกไปละหมาดทมัสยิดตามแนว
ื
ี
ี
ทางการปฏบัตของบรรดาเศาะหาบยาต ยกเว้นในกรณต่อไปน้คอ
ิ
ิ
ี
1
็
ี
ิ
ุ
ชอัยบ์ อัลอัรนะวูต และคณะวินจฉัยว่าเปนหะดษหะสัน (Ibn Hanbal, 2001: 45/37)
2 ดรายละเอยดในหะดษ Bukhari: 899, 900 ; Muslim: 4/139-140.
ู
ี
ี