Page 226 - 001
P. 226

215


                   ไกรลาศนี้ใช้วิธีสลักภูเขาจากยอดลงมาด้านล่าง สิ่งก่อสร้างต่างๆจึงมาจากหินภูเขาเนื้อ
                                 27
                   เดียวกันทั้งหมด


































                                               ภาพที่ 63 เทวาลัยไกรลาส
                   ที่มา : https://fr.wikipedia.org/ [Online], accessed 14 May 2018.


                                 ั
                                                                                   ั
                          • เอเลฟนตะ (Elephanta) เป็นศาสนสถานที่อยู่บนเกาะเอเลฟนตะนอกอ่าวบอม
                   เบย์ ประกอบไปด้วยกลุ่มถ้ำ 2 กลุ่มใหญ่ คือ กลุ่มถ้ำที่สร้างเนื่องในศาสนาฮินดู มีทั้งหมด 5
                   ถ้ำ และกลุ่มถ้ำที่สร้างเนื่องในศาสนาพทธ มีด้วยกัน 2 ถ้ำ แต่เดิมมีชื่อเรียกว่า ฆะระปุริ
                                                       ุ
                   (Gharapuri) แปลว่า “เมืองแห่งถ้ำ” แต่โปรตุเกสได้ตั้งชื่อให้ใหม่ว่า เอเลฟนตะ เนื่องจาก
                                                                                      ั
                   ประทับใจประติมากรรมรูปช้างที่สลักด้วยก้อนหินสีดำ

                          ด้วยเหตุว่าไม่ปรากฏจารึกในศาสนสถานแต่ละแห่ง นักวิชาการจึงสันนิษฐานจาก
                   รูปแบบงานศิลปกรรมและกำหนดว่า สถาปัตยกรรมถ้ำเหล่านี้น่าจะสร้างขึ้นในราวพทธ
                                                                                                ุ
                   ศตวรรษที่ 11 – 14 (ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 5 - ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 8)
                          ถ้ำที่สำคัญคือ ถ้ำหมายเลข 1 ซึ่งเป็นศาสนสถานที่สร้างขึ้นเพอถวายพระศิวะ มี
                                                                                   ื่
                   แผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ทางเข้าหลักหันหน้าไปทางทิศเหนือ ภายในครรภคฤหะ

                   (Garbha-griha) มีลึงค์อันเป็นสัญลักษณ์ของพระศิวะประดิษฐานอยู่ สิ่งที่น่าสนใจสำหรับ
                   ศาสนสถานแห่งนี้คือ ประติมากรรม “มหาเทวะ” หรือที่เรียกกันว่า ตรีมูรติ (พระศิวะ 3

                                                                                     ั
                    ั
                   พกตร์) ซึ่งสลักอยู่บนกำแพงทางด้านใต้ มีความสูง 5.45 เมตร โดยพระพกตร์ทั้งสามของ
                   พระศิวะนี้สะท้อนถึงลักษณะสำคัญของพระศิวะ ที่เป็นทั้งผู้สร้างสรรค์  (creator) ผู้ปกป้อง
                                                                      ั
                   (protector) และผู้ทำลาย (destructor) กล่าวคือ พระพกตร์ทางด้านขวา (หันหน้าไปทาง

                          27  กำจร สุนพงษ์ศรี, ประวัติศาสตร์ศิลปะอินเดีย, หน้า 200.
   221   222   223   224   225   226   227   228   229   230   231