Page 24 - 025
P. 24
24
่
ี
มุ่งมั่นในการพัฒนางาน จัดกิจกรรมการเรยนการสอน มีการประสานงานความรวมมือจากทุกฝ่าย
เพื่อพัฒนาโรงเรียนและมีการประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ
การจัดการศึกษาเอกชนในปัจจุบัน แม้ว่ารัฐบาลจะส่งเสริมและสนับสนุนการด าเนินกิจการ
ี
ของโรงเรยนเอกชนดังกล่าว แต่การด าเนินการยังประสบปัญหาหลายประการ ส านักงาน
ุ
คณะกรรมการการศึกษาเอกชน ได้สรปปัญหาที่ส าคัญของการศึกษาเอกชนไว้ ดังนี้ (ส านักงาน
คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ , 2542 : 60)
่
ิ
ื้
1. การบรหารของสถานศึกษาเอกชนส่วนใหญยังไม่เป็นระบบที่เออต่อการน า
องค์กรไปสู่ความเป็นเลิศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. มาตรฐานคุณภาพการศึกษา สถานศึกษาเอกชนมีความหลากหลายและมี
ื
จ านวนมาก คุณภาพไม่เท่าเทียมกัน ส่วนหนึ่งยังอยู่ในระดับที่ไม่น่าพอใจ หรอเป็นที่นิยมของ
ประชาชน
ิ
3. ผู้บริหารยังมีความสามารถในการบรหารไม่เพียงพอและไม่เน้นการศึกษาอย่าง
จริงจัง
4. ครูมีคุณวุฒิต่ า ขาดสมรรถภาพในการถ่ายทอด ขาดขวัญก าลังใจและไม่เน้นการ
พัฒนาการศึกษาอย่างจริงจัง
5. โรงเรียนเอกชนไม่สามารถสรรหาครูได้ตามต้องการ
6. ความประพฤติของนักเรยนขาดความเป็นระเบียบวินัย คุณธรรม จรยธรรม
ิ
ี
และคุณลักษณะที่พึงประสงค์
ั
7. การสนับสนุนสถานศึกษาเอกชนจากรฐบาลยังไม่ทั่วถึง และไม่เพียงพอกับ
ความต้องการ
8. สถานศึกษาเอกชนยังไม่เป็นที่ศรัทธาของผู้ปกครองและประชาชนเท่าที่ควร
ี
จะเห็นได้ว่าปัญหาที่ส าคัญของการด าเนินกิจการโรงเรยนเอกชน คือ ปัญหาด้านบุคลากร
ิ
ู
ภารกิจที่จะต้องด าเนินการโดยต่อเนื่อง คือ การพัฒนาผู้บรหารและครซึ่งเป็นบุคลากรที่ส าคัญยิ่ง
เนื่องจากการบรหารงานบุคลากรเป็นงานที่ยากยิ่งกว่างานใดๆ ทั้งหมด ถ้าบรหารคนได้ราบรนก็
ื่
ิ
ิ
ึ่
็
เท่ากับงานส าเรจไปแล้วครงหนึ่ง ถ้าบรหารไม่ถูกต้องเหมาะสม งานก็ไม่ส าเรจตามวัตถุประสงค์
ิ
็
หรืออุปสรรคต่างๆ สับสน วุ่นวาย
ิ
ี
ดังนั้นโรงเรยนเอกชนสอนศาสนาอสลามจึงต้องมีการปรบตัวทั้งในด้านการบรหารงาน
ิ
ั
ทั่วไป และการบริหารหลักสูตร เพื่อให้สามารถจัดหลักสูตรการศึกษาที่สอดคล้องกับความต้องการ
ของชุมชนเพื่อให้เด็กที่จบการศึกษาสามารถเป็นผู้น าในชุมชน และมีคุณภาพเป็นที่พึงพอใจของ
ี
ชุมชน เพื่อจะได้สามารถเป็นปัจจัยดึงดูดให้เด็กรุ่นหลังสนใจที่จะเข้ามาศึกษาในโรงเรยนเอกชน ซึ่ง