Page 22 - 025
P. 22
22
บทที่ 1
บทน า
ปัญหาที่มาและความส าคัญของการวิจัย
ี
การศึกษามีความส าคัญอย่างยิ่งต่อการด ารงชีวิตของมนุษย์ เพราะการศึกษาเปรยบเสมือน
็
แสงสว่างที่จะส่องน าชีวิตของมนุษย์ไปสู่ความส าเรจทั้งในโลกนี้และโลกหน้า เป็นบ่อเกิดแห่ง
ความเจริญทั้งหมาย เป็นหลักประกันแห่งความผาสุข เป็นกุญแจแห่งอารยธรรม และเป็นจุดเรมต้น
ิ่
แห่งการพัฒนาทั้งหลายไม่ว่าในด้านวัตถุและจิตวิญญาณ ดังนั้นจึงไม่มีประชาชาติใดในโลกอน
ั
่
กว้างใหญนี้ที่ปฏิเสธความส าคัญของการศึกษา เพราะทุกคนต่างตระหนักดีว่า พวกเขามิอาจจะ
ด าเนินชีวิตอยู่ได้อย่างสงบสุขหากปราศจากการศึกษา (อิบราเฮ็ม ณรงค์รักษาเขต,2546:1)
ู้
ิ
ื
การศึกษาในอสลามไม่ใช้แค่การถ่ายทอดความร ประสบการณ์หรอทักษะจากชนรนหนึ่ง
ุ่
ุ่
ิ
ี
ไปยังอกชนรนหนึ่ง แต่ในอสลามมีความหมายที่กว้างและครอบคลุมทุกด้าน การศึกษาเป็น
กระบวนการอบรมและบ่มเพาะสติปัญญา รางกายและจิตวิญญาณ เพื่อผลิตมนุษย์ที่สมบูรณ์ ซึ่ง
่
พื้นฐานแรกการศึกษาในอิสลามนั้นก็คือ อัลกุรอ่าน เป็นความรู้ที่สมบูรณ์แบบที่มาจากผู้สรางมนุษย์
้
ทรงรู้ดีว่าจะทรงสอนมนุษย์อย่างไร ดังที่อัลลอฮฺ ทรงตรัสว่า
69 1 : - 5
่
ความว่า “จงอาน ด้วยพระนามแห่งพระเจ้าของเจ้าผู้ทรงบังเกิด ทรงบังเกิดมนุษย์จาก
ก้อนเลือด จงอ่านเถิด และพระเจ้าของเจ้านั้นผู้ทรงใจบุญยิ่ง ผู้ทรงสอนการใช้ปากกา ผู้ทรง
ู้
สอนมนุษย์ในสิ่งที่เขาไม่ร ” อัลกุรอ่าน 69 : 1 - 5
ั
ดังนั้นรฐบาลได้มีการประกาศใช้แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2503 และรฐบาลได้ขยาย
ั
การศึกษาภาคบังคับออกไปเป็น 7 ปี และได้มีการจัดตั้งส านักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน
ขึ้นในปี 2515 ซึ่งเป็นหน่วยงานระดับสูงในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการเพื่อท าหน้าที่ก ากับดูแล
ี
รบผิดชอบเกี่ยวกับการด าเนินกิจการของโรงเรยนราษฎรโดยเฉพาะ ทั้งนี้เพื่อให้โรงเรยนสามารถ
ั
์
ี
ุ
ี
ั
ิ
ั
ให้บรการการศึกษาอย่างมีมาตรฐานทัดเทียมกับโรงเรยนของรฐบาล ซึ่งรฐบาลได้มีการปรบปรง
ั