Page 105 - 022
P. 105
105
บทที่ 3
ระเบียบวิธีการวิจัย
การศกษาวิจัยเรอง “บทบาททางสังคมของเศาะหาบยาตในสมัยนบมหัมมัด กับการ
ึ
ื่
ี
ี
ุ
ี
็
ิ
ุ
ประยุกต์ใช้กับสตรไทยมสลมในสังคมจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย” เปนการวิจัย
ิ
ประยุกต์ (Applied Research) ทใช้วิธการเก็บข้อมูลทั้งเชงคณภาพ (Qualitative Data) และเชง
ิ
ุ
ี่
ี
็
ิ
่
ุ
ปรมาณ (Quantitative Data) เพื่อให้ได้ข้อมูลตามวัตถประสงค์ทก าหนดไว้ ซงแบ่งเปน 4 ตอน
ึ
ี่
ดังน้คอ
ื
ี
ี
็
ตอนที่ 1 เปนการวิจัยจากเอกสาร (Documentary Research) โดยใช้ระเบยบวิธทาง
ี
์
ึ
ประวัตศาสตร (Historical Methodology) เน้นการวิจัยเอกสารเพื่อม่งศกษาบทบาทต่างๆ ของเศาะ
ุ
ิ
หาบยาตในยุคสมัยของท่านนบมหัมมัด ใน 4 ด้าน คอ 1) ด้านสังคมและวัฒนธรรม (Social and
ี
ุ
ี
ื
Cultural Aspects) 2) ด้านเศรษฐกิจ (Economic Aspect) 3) ด้านการศกษา (Educational Aspect)
ึ
ื
ุ
และ 4) ด้านการเมอง (Political Aspect) เพื่อตอบค าถามวิจัยและวัตถประสงค์การวิจัยในข้อแรก
)
็
ตอนที่ 2 เปนการเก็บข้อมูลเชงปรมาณ (Quantitative Data จากภาคสนาม (Field
ิ
ิ
Research) โดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) กับผู้ให้ข้อมูลหลัก (Key Informants) ทเปน
ี่
็
ุ
ุ
ี
ิ
ประชากรสตรไทยมสลมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย เพื่อม่งศกษาระดับการ
ึ
ี
ุ
ิ
ิ
ิ
ปฏบัตตามบทบาทเศาะหาบยาตของสตรไทยมสลมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย
ี
ุ
ี่
ในปจจบัน เพื่อตอบค าถามวิจัยและวัตถประสงค์การวิจัยในข้อทสอง
ั
ุ
ุ
็
ตอนที่ 3 เปนการเก็บข้อมูลเชงคณภาพ (Qualitative Data) จากภาคสนาม (Field Research)
ิ
โดยการสัมภาษณเชงลก (In-depth Interview: IDI) กับผู้ทรงคณวุฒจากสถาบันตลาการ สถาบัน
ุ
ิ
ิ
ุ
์
ึ
ศาสนาและสถาบันการเมอง เพื่อยืนยันผลการวิเคราะหเชงปรมาณในตอนทสอง อกทั้งเพื่อศกษา
ี่
ึ
ิ
ื
ี
์
ิ
ุ
ุ
ความเหนของผู้ทรงคณวุฒทเปนข้อเสนอแนะในการพัฒนาบทบาทของสตรไทยมสลมในสาม
ี
็
ิ
็
ี่
ิ
ี
จังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยให้สอดคล้องกับบทบาทของเศาะหาบยาต เพื่อตอบค าถาม
ี่
วิจัยและวัตถประสงค์การวิจัยในข้อทสาม
ุ
ิ
ุ
ตอนที่ 4 เปนการเก็บข้อมูลเชงคณภาพ (Qualitative Data) จากภาคสนาม (Field Research)
็
ุ
ุ
ิ
โดยการสนทนากล่ม (Focus Group Discussion: FGD) กับผู้ทรงคณวุฒจากตัวแทนองค์กรสตร ี
มสลมและนักวิชาการ แล้วน าข้อมูลมาสังเคราะหข้อเสนอแนะในการพัฒนาบทบาทของสตรไทย
ิ
ุ
ี
์
มสลมในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยให้สอดคล้องกับบทบาทของเศาะหาบยาต
ี
ิ
ุ
เพื่อตอบค าถามวิจัยและวัตถประสงค์การวิจัยในข้อทสาม ในแต่ละตอนมรายละเอยดการด าเนนการ
ี
ิ
ี
ุ
ี่
ดังต่อไปน้ ี