Page 8 - 0018
P. 8
ฉ
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
้
รายงานการวิเคราะห์ เรื่องกระบวนการของงานบริการวิชาการด้านทักษะอาชีพ ในการแกไข
ความยากจน กรณีศึกษา : ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี มีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์งานบริการ
้
ื่
วิชาการด้านการพัฒนาทักษะอาชีพ เพื่อแกไขปัญหาความยากจน และเพอวิเคราะห์กระบวนการของงานบริการ
ื่
วิชาการด้านการพัฒนาทักษะอาชีพ เพอแก้ไขปัญหาความยากจน ตำบลบ้านกลาง อำเภอปะนาแระ จังหวัดปัตตานี
ตามภารกิจหลักของสำนักส่งเสริมและบริการวิชาการ ตลอดจน เพื่อกำหนดแนวทางในการดำเนินงานของงาน
บริการวิชาการด้านการพัฒนาทักษะอาชีพ ในการแก้ไขความยากจน นำไปสู่การปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมายของ
หน่วยงานที่วางไว้ พบว่า งานบริการวิชาการด้านการพัฒนาทักษะอาชีพ เพื่อแกไขปัญหาความยากจน เป็นการนำ
้
องค์ความรู้ ทักษะด้านอาชีพ มาถ่ายทอดให้กับชุมชน โดยคำนึงถึงปัญหาและความต้องการของชุมชนเป็นพื้นฐานใน
การดำเนินงาน โดยการศึกษาข้อมูลในด้านต่าง ๆ ของชุมชน รวบรวมและนำมาวิเคราะห์ เพอพัฒนาทักษะอาชีพ
ื่
ผ่านกิจกรรม ซึ่งมีกระบวนการการพัฒนาทักษะอาชีพทเป็นระบบ และส่วนของกระบวนการของงานบริการพบว่า
ี่
กระบวนการของงานบริการวิชาการด้านการพัฒนาทักษะอาชีพ เพอแก้ไขปัญหาความยากจน หมู่ที่ 5 ตำบล
ื่
บ้านกลาง อำเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี ประกอบไปด้วย 4 ขั้นตอน คือ (1) การศึกษาบริบทของพื้นที่และ
หน่วยงาน (2) วิเคราะห์ปัญหาความต้องการรที่จำเป็นและนำไปสู่การออกแบบการพัฒนาทักษะอาชีพร่วมกัน (3)
ดำเนินงานตามแผนบูรณาการงานร่วมกับหน่วยงาน ภาคีเครือข่าย (4) ติดตามและประเมินผลอย่างต่อเนื่อง ขั้นตอน
ดังกล่าวถือเป็นกระบวนการการพัฒนาทักษะอาชีพที่เป็นระบบ มีความครบถ้วนอย่างเป็นขั้นเป็นตอน มีการ
วางแผน ตรวจสอบ ติดตาม ประเมิน นำไปสู่การพัฒนาการบริการวิชาการ ตามแนวคิด วงจรเดมิ่ง (Deming Cycle)
: PDCA และผลของการวิเคราะห์ได้กำหนดแนวทางในการดำเนินงานบริการวิชาการด้านการพัฒนาทักษะอาชีพ
้
เพื่อแกไขปัญหาความยากจน และนำไปสู่การปฏิบัติงานให้บรรลุเป้าหมายของหน่วยงานที่วางไว้ดังนี้ (1)
ผู้ปฏิบัติงานควรวางแผนการดำเนินงานที่มีความสอดคล้องกับขอบเขตงาน ความรับผิดชอบหลักของหน่วยงาน (2)
ในขั้นตอนการลงพื้นที่เพื่อปฏิบัติการหรือให้บริการ ควรสร้างบรรยากาศการยอมในชุมชน เพื่อการปฏิบัติที่ราบรื่น
และบรลุเป้าหมายที่วางไว้ (3) ผู้ให้บริการควรมีการตรียมพร้อมในด้านการสื่อสารในภาษาถิ่น หรือการใช้ความ
ั
พยายามในการสื่อสารเพอให้ผู้รับบริการไม่เกิดความอึดอดใจ (4) ผู้ให้บริการวิชาการด้านการพัฒนาทักษะอาชีพ
ื่
จำเป็นต้องมีเทคนิคในการถ่ายทอดองค์ความรู้และทักษะอาชีพ (5) ควรคำนึงถึงปัญหาและความต้องการของชุมชน
ื่
เป็นพื้นฐาน (6) ผู้ให้ บริการควรมีการส่งเสริมการจัดการกลุ่มให้กับผู้รับบริการ เพอให้ชุมชนเกิดการพึ่งพาสมาชิก
กันเองได้ และ(7) ควรมีการเชื่อมโยงเครือข่ายทั้งภาครัฐ/เอกชน ภาคประชาชนและภาควิชาการ เป็นกลไกการ
ขับเคลื่อนงานที่สำคัญใน ทุกๆ ด้านของชุมชน (8) ด้านการประสานงาน ควรให้ความสำคัญของการประสานงาน
ตั้งแต่เริ่มต้นโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ และการประสานงานระหว่างหน่วยงานต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ดังนั้นผู้ที่มี
บทบาทหรือองค์กรที่ทำงานบริการวิชาการจะต้องประเมินและนำมาประกอบการวางแผนแนวทางการทำงานตลอด
จนจะต้องอาศัยความร่วม มือกับเครือข่ายในชุมชนอย่างจริงจังและต่อเนื่อง ส่วนของบุคลากรที่จะทำงานบริการ
วิชาการด้านการพัฒนาทักษะอาชีพในพื้นที่ชุมชน ควรเรียนรู้และสะสมประสบการณ์เช่นเดียวกัน