Page 113 - 001
P. 113

ี
                          นโยบายสาธารณะ: แนวคิดพื้นฐาน ขอโตแยงกระบวนการนโยบาย และระเบียบวิธ           ยศธร ทวีพล
                          Public Policy: Basic Concepts, Policy Process Arguments and Methodology

                          เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม ซึ่งเปลี่ยนแปลงมากนอยแตกตางกันตามความตองการรัฐบาล สุดทายจะนำมา
                          สูผลผลิตจากการออกแบบนโยบายที่กอใหเกิดผลกระทบแกสังคมหรือสาธารณะ ดังภาพที่ 4.3



                          ภาพที่ 4.3 หวงโซเครื่องมือนโยบาย กลไกและผลผลิต



                               การสนบสนุน    ขีดความสามารถ                 การเปลี่ยนแปลง   ผลกระทบ
                                     ั
                                กฎระเบียบ       นโยบาย                        มากนอย        นโยบาย

                                เครื่องมือ     ทรัพยากร         กลไก         พฤติกรรม        ผลผลิต


                                                        บริบทอุปสรรคและขอจำกัด


                          ที่มา: Howlett (2019: 80)


                                                                    
                                 สำหรับเครื่องมือนโยบายที่นิยมถูกนำมาใช แบงออกเปน 5 กลุม ดังตารางที่ 4.2 ไดแก  
                          เครื่องมือนโยบายที่ใชกลไกตลาด เครื่องมือนโยบายที่ใชกลไกภาษและเงินอดหนุน เครื่องมือนโยบายที่
                                                                                    ุ
                                                                             ี
                          ใชกฎระเบียบ เครื่องมือนโยบายที่ไมใชกลไกตลาด เครื่องมือนโยบายที่ใชการประกันและการบรรเทา
                          ผลกระทบ โดยแตละเครื่องมือสัมพันธกับปญหา อาทิ ความลมเหลวของระบบตลาด (traditional
                                                         
                          market failures: MF) ประกอบดวย สินคาสาธารณะ ผลกระทบภายนอก (externalities) การ
                          ผูกขาดโดยธรรมชาติ ขอมูลอสมมาตร (information asymmetries) ตอมาเปนขอจำกัดอื่นๆ ใน
                          กรอบการแขงขัน (other limitations of the competitive framework: LCF) อาทิ ตลาดเบาบาง

                          (thin marker) ปญหาที่เกี่ยวของกับความพึงพอใจ ปญหาเกี่ยวกับความไมแนนอน ปญหาเกี่ยวกับการ
                          บริโภคขามเวลา (intertemporal problem) ตนทุนในการปรับตัว (adjustment cost) ปญหาตอมา

                          เกี่ยวของกับความกังวลในการจัดสรรสินคาและบริการ (distributional issue/concerns: DI) อาทิ
                          ความเสมอภาคในโอกาส ความเทาเทียมกันของผลลัพธ และสุดทายความลมเหลวของรัฐ

                          (government failures: GF) อาทิ ประชาธิปไตยทางตรง รัฐบาลตัวแทน การจัดหาใหโดยระบบ
                          ราชการและการกระจายอำนาจ (Weimer and Vining, 1999 อางใน ณัฐฐา วินิจนัยภาค, 2554)












                                                                                                              93
   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118