Page 6 - 049
P. 6
(5)
ิ
ั
ิ
ู
ิ
์
ื่
ชอวิทยานพนธ รปแบบการพัฒนาสมรรถนะการบรหารความขัดแย้ง ส าหรบผู้บรหาร
ึ
สถานศกษา สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศกษาขั้นพื้นฐาน
ึ
ในจังหวัดชายแดนภาคใต้
ผูเขียน นายวีระศักด์ พัทบร ี
ิ
ุ
้
ึ
ิ
สาขาวิชา การบรหารการศกษา
ปการศกษา 2558
ึ
ี
บทคัดยอ
่
ี
ี
การวิจัยคร้งน้มวัตถประสงค์เพื่อศกษาองค์ประกอบสมรรถนะการบรหารความขัดแย้ง
ุ
ึ
ิ
ั
ู
ึ
และเสนอรปแบบการพัฒนาสมรรถนะการบรหารความขัดแย้ง ส าหรบผู้บรหารสถานศกษา สังกัด
ิ
ิ
ั
ส านักงานคณะกรรมการการศกษาขั้นพื้นฐาน ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ การด าเนนการวิจัย
ิ
ึ
ี่
์
ิ
็
่
ึ
็
แบ่งเปนสองระยะ ระยะทหนงเปนการวิเคราะหองค์ประกอบสมรรถนะการบรหารความขัดแย้ง
ิ
ึ
ุ
็
ึ
่
โดยส่งแบบสอบถามไปยังกล่มตัวอย่างซงเปนผู้บรหารสถานศกษาและกรรมการสถานศกษา
ึ
์
ี่
ขั้นพื้นฐาน ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ น ามาวิเคราะหองค์ประกอบเชงส ารวจ และระยะทสอง
ิ
็
ึ
ิ
ั
เปนการสรางรปแบบการพัฒนาสมรรถนะการบรหารความขัดแย้ง ส าหรบผู้บรหารสถานศกษา
ิ
ู
้
ึ
ู
สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศกษาขั้นพื้นฐาน ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ จากนั้นน ารปแบบ
ดังกล่าวไปสัมภาษณผู้ทรงคณวุฒ และสนทนากล่มกับผู้บรหารสถานศกษา เพื่อประเมนและ
ิ
ึ
ิ
ุ
ุ
ิ
์
์
ั
ู
ุ
ปรบปรงรปแบบให้สมบูรณยิ่งข้น
ึ
ิ
ผลการวิจัยพบว่า 1) องค์ประกอบสมรรถนะการบรหารความขัดแย้ง ประกอบด้วย 6
องค์ประกอบ ได้แก่ 1.1) การควบคมและบรหารความขัดแย้ง 1.2) การเผชญความขัดแย้งด้วยภาวะ
ุ
ิ
ิ
ื
ั
ผู้น าอย่างเหนอชั้น 1.3) การสรางความสัมพันธและความเสมอภาค 1.4) การจัดการองค์กรเพื่อรกษา
์
้
ุ
ุ
สมดลของความขัดแย้ง 1.5) การยอมรบความหลากหลายทางวัฒนธรรม และ 1.6) การควบคม
ั
์
ู
ั
ตนเองในสถานการณความขัดแย้ง 2) รปแบบการพัฒนาสมรรถนะการบรหารความขัดแย้ง ส าหรบ
ิ
ึ
ิ
ึ
ผู้บรหารสถานศกษา สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศกษาขั้นพื้นฐาน ในจังหวัดชายแดนภาคใต้
ิ
ประกอบด้วย 7 ขั้นตอน ได้แก่ 2.1) ขั้นเร่ ิมต้นการพัฒนา 2.2) ขั้นประเมนก่อนการพัฒนา
2.3) ขั้นการพัฒนา 2.4) ขั้นการทบทวน 2.5) ขั้นประเมนการพัฒนา 2.6) ขั้นการปฏบัตซ ้า และ
ิ
ิ
ิ
ิ
2.7) ขั้นส้นสดการพัฒนา
ุ