Page 36 - GL014
P. 36

34




                    ่
                    ี
             สาเหตุท กฟผ. เลือกติดต้งแบตเตอร่กักเก็บพลังงานท่บริเวณสถานีไฟฟ้าแรงสูง
                                          ี
                                                       ี
                                  ั
                                          ื
                                ื
           ในภาคตะวันออกเฉียงใต้ เน่องจากเป็นพ้นท่ท่มีการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน
                                            ี
                                             ี
           จ�านวนมาก และจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยในปี พ.ศ. 2563 ประเมินว่า จังหวัดชัยภูมิจะมี
            �
                                                                 �
           กาลังผลิตจากพลังงานหมุนเวียน 218.2 เมกะวัตต์ ส่วนจังหวัดลพบุรีจะมีกาลังผลิตจาก
           พลังงานหมุนเวียนอยู่ที่ 301.2 เมกะวัตต์
                                                                     ี
                                                                      �
                                     ี
             จากแนวโน้มของราคาแบตเตอร่ท่ลดลง และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีท่ทาให้ม ี
                                      ี
                                      �
                                     ี
           ประสิทธิภาพสูงข้น การนาแบตเตอร่สารองเข้ามาในระบบไฟฟ้า จึงนับเป็นโอกาสดีในการ
                             �
                       ึ
                                             ั
           ส่งเสริมการใช้พลังงานหมุนเวียน และสร้างความม่นคงในระบบไฟฟ้าของประเทศ โดยมีระดับ
           ราคาค่าไฟฟ้าที่เหมาะสม
                                                                    ี
          Hydro-Floating Solar Hybrid โครงการพลังงานหมุนเวียนแบบไฮบริดท่ใหญ่ท่สุดในโลก
                                                               ี
                               �
            กฟผ. ได้ตระหนักถึงข้อจากัด
          ของพลังงานหมุนเวียนท่ยังมีความ
                           ี
          ไม่เสถียรของพลังงาน ดังน้น การนา �
                            ั
          พลังงานหมุนเวียนหลากหลาย
          รูปแบบเข้ามาผสานกันเพ่อสร้าง
                             ื
          เสถียรภาพ จึงเป็นหน่งทางเลือก
                           ึ
          ที่ กฟผ. น�ามาใช้ในการผลิตไฟฟ้า
            ื
          เพอแก้ไขข้อจากดให้พลงงาน
            ่
                        ั
                      �
                              ั
          หมุนเวียนสามารถจ่ายไฟฟ้าได้
          เต็มศักยภาพ และเสถียรมากที่สุด
                                                                 �
             Hydro-Floating Solar Hybrid หรือ โครงการโซลาร์เซลล์ลอยน้าแบบไฮบริด
           คือระบบผลิตไฟฟ้าผสมผสานระหว่าง ‘พลังนาจากเข่อน’ และ ‘พลังงานแสงอาทิตย์จาก
                                                 ื
                                           �
                                           ้
                                                             ื
                                                            ี
                       �
                       ้
           โซลาร์เซลล์ลอยนาบนเข่อน’ โดย กฟผ. นาร่องโครงการ 2 แห่ง ท่เข่อนสิรินธร จังหวัด
                            ื
                                          �
                               �
           อุบลราชธานีเป็นแห่งแรก กาลังผลิต 45 เมกะวัตต์ และเข่อนอุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น
                                                     ื
           ก�าลังผลิต 24 เมกะวัตต์ ซึ่งมีจุดเด่นของโครงการคือ
                      1.  ราคาต�่า โดยองค์ประกอบที่ท�าให้ราคาต�่า ได้แก่
                        -  เป็นโครงการขนาดใหญ่ที่มีก�าลังผลิตมากกว่า 30 เมกะวัตต์ขึ้นไป
                        -  ใช้โครงสร้างของระบบไฟฟ้าเดิมท กฟผ. มีรองรับอยู่ เช่น ระบบ
                                                    ่
                                                    ี
                              ื
                          เช่อมต่อไฟฟ้า หม้อแปลงไฟฟ้า โดยใช้ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
                          และบริหารจัดการพื้นที่ที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40