Page 35 - GL014
P. 35
ท่องโลกพลังงานหมุนเวียน 33
ั
็
่
ี
่
ิ
�
ั
ึ
กฟผ. ได้ศกษาและเรมนาระบบกกเกบพลงงานโดยแบตเตอรมาใช้ในระบบไฟฟ้า
เพื่อส่งเสริมการใช้พลังงานหมุนเวียน และเสริมสร้างความมั่นคงของระบบไฟฟ้า โดยเฉพาะ
ในจุดผลิตและส่งจ่ายไฟฟ้า ประกอบด้วย 3 โครงการ คือ
1. โครงการติดตั้งแบตเตอรี่กักเก็บพลังงาน
อาเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ปัจจุบันได้รับ
�
การอนุมัติโครงการแล้ว มีกาลังไฟฟ้า 4 เมกะวัตต์
�
ี
ุ
ั
(ความจ 1 เมกะวัตต์-ช่วโมง) ท่ช่วยจ่ายไฟฟ้า
ี
ั
เล้ยงระบบไฟฟ้าของแม่ฮ่องสอนท้งจังหวัด
ได้นาน 15 นาที
ี
ู
ั
โครงการนจะตดตงอย่ใกล้ ๆ กบโครงการ
ั
ิ
้
้
เซลล์แสงอาทิตย์ท่จะติดต้งในจังหวัดแม่ฮ่องสอน
ี
ั
ี
ั
เพมอก 3 เมกะวตต์ (รวมกาลงผลตจากเซลล์
ิ
ิ
�
ั
่
แสงอาทิตย์ในจังหวัดแม่ฮ่องสอนท้งหมดเป็น
ั
ั
3.5 เมกะวัตต์) โดยการเลือกติดต้งในจังหวัด
ี
แม่ฮ่องสอน เน่องจากเป็นพ้นท่ท่ไม่มีสายส่ง
ี
ื
ื
�
แรงสูงรองรับ ทาให้เกิดไฟตกและไฟดับบ่อยคร้ง ั
้
ี
นอกจากน แบตเตอร่กักเก็บพลังงานดังกล่าว
ี
จะทางานร่วมกับระบบโครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะ
�
ื
หรอสมาร์ทกรด ท กฟผ. จะใช้เทคโนโลยี
่
ี
ิ
ี
ื
สารสนเทศเข้ามาช่วยจัดการไฟฟ้าในพ้นท่ให้
ี
สามารถจ่ายไฟฟ้าได้ต่อเนองและมเสถยรภาพ
ี
ื
่
ท่ประเมินว่า เม่อแล้วเสร็จโครงการจะช่วยลด
ี
ื
เวลาในการเกิดไฟดับเหลือน้อยกว่า 500 นาที/ปี
จากเดิมที่สูงถึง 2,614 นาที/ปี
2. สถานีไฟฟ้าแรงสูงบ�าเหน็จณรงค์ จังหวัด
ิ
ชัยภูม (อยู่ระหว่างการอนุมัติโครงการ) กาลังไฟฟ้า
�
16 เมกะวัตต์ (ความจุ 16 เมกะวัตต์-ชั่วโมง)
3. สถานีไฟฟ้าแรงสูงชัยบาดาล จังหวัดลพบุร ี
(อยู่ระหว่างการอนุมัติโครงการ) กาลังไฟฟ้า
�
21 เมกะวัตต์ (ความจุ 21เมกะวัตต์ - ชั่วโมง)