Page 74 - 025
P. 74
74
การเก็บรวบรวมข้อมูล
ข้อมูลที่น ามาศึกษา ได้เก็บข้อมูลมาจาก 2 แหล่ง คือ
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร (Documentary Research) โดยการเก็บ
รวบรวมข้อมูลจากเอกสารทางวิชาการ ต ารา งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และวิทยานิพนธ์
2. การเก็บรวบรวมข้อมูลภาคสนาม (Field Survey) เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลจาก
ี
ู
ิ
การใช้แบบสอบถามผู้บรหารและคร โรงเรยนเอกชนสอนศาสนาอสลาม ในจังหวัดสตูล ซึ่งเป็น
ิ
ตัวแทนประชากรในการเก็บรวบรวมข้อมูลภาคสนาม จ านวน 16 โรง โดยจ าแนกตามอาเภอ รวม
จ านวนกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 222 คน ผู้บริหารจ านวน 21 คน และครู จ านวน 201 คน
การวิเคราะห์ข้อมูล
ิ
ั้
ในการศึกษาครงนี้ เป็นการศึกษาเชิงปรมาณ โดยใช้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ เป็น
ื่
เครองมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยผู้วิจัยได้ตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบสอบถามและ
็
ู
ประมวลผลโดยใช้โปรแกรมส าเรจรปทางสถิติ ซึ่งผู้วิจัยจะแยกวิเคราะห์ข้อมูลตามลักษณะของ
แบบสอบถามแต่ละตอน ดังน ี้
1. ตรวจสอบความสมบูรณ์ของแบบสอบถามทุกฉบับ
2. วิเคราะห์ข้อมูลตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับสถานภาพของผู้ตอบ
แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูล โดยหาค่ารอยละ แล้วน าเสนอเป็นตารางประกอบความเรยงท้าย
ี
้
ตาราง
3. วิเคราะห์ข้อมูลตอนที่ 2 เกี่ยวกับสภาพการด าเนินงานวางแผนกลยุทธ์ของ
โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลามในจังหวัดสตูล วิเคราะห์ข้อมูล โดยหาค่าเฉลี่ย ( ) และค่าส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของแบบสอบถาม เป็นรายด้านและหาค่าเฉลี่ยรวม ทั้ง 4 ขั้นตอน โดยให้
คะแนนตามเกณฑ์ของครอนบาค (Cronbach, 1990 : 126 – 127 (อางถึงในดลมนรรจน์ บากา และ
้
เกษตรชัย และทีม , 8442 : 82) โดยแบ่งช่วงค่าตัวกลางเลขคณิต 5 ระดับ (Rating Scale) ในการแปล
ความหมาย ดังนี้
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 4.50 – 5.00 หมายถึง ระดับมากที่สุด
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 3.50 – 4.49 หมายถึง ระดับมาก
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 2.50 – 3.49 หมายถึง ระดับปานกลาง
ค่าเฉลี่ยระหว่าง 1.50 – 2.49 หมายถึง ระดับน้อย