Page 13 - 001
P. 13

2


                   ซึ่งช่องเขาที่เป็นที่นิยมที่ใช้ในการเดินทาง ได้แก่ ช่องเขาโบลัน (Bolan pass) โกมาล (Gomal)
                                                                     2
                                                                                                     ื่
                   และไคเบอร์ (Khyber) ทางภาคตะวันตกเฉียงเหนือ  ในอดีต ช่องเขาเหล่านี้ถูกใช้เพอ
                   วัตถุประสงค์ที่หลากหลาย เป็นต้นว่า เป็นเส้นทางการอพยพเข้าสู่อินเดียของกลุ่มชาวอารยัน
                                               ่
                                                                      ื่
                   และชนชาติต่างๆ หรือเพอให้พอค้าใช้เดินทางเข้าออกเพอการค้าขาย ในขณะเดียวกันก็เป็น
                                          ื่
                   ช่องทางที่กลุ่มชนจากภายนอก เช่น เปอร์เซีย มาซีโดเนีย ซิเถียน และมองโกล สามารถรุกราน
                   เข้ามาหาประโยชน์ในอินเดียได้ อย่างไรก็ดี พระพุทธศาสนาได้ถูกนำไปเผยแพร่ยังจีนและเอเชีย

                   กลางจากเส้นทางผ่านช่องเขาเหล่านี้เช่นเดียวกัน







































                                                 ภาพที่ 1 เทือกเขาหิมาลัย

                   ที่มา : https://commons.wikimedia.org/ [Online], accessed 27 October 2018

                          2. เขตที่ราบลุ่มแม่น้ำคงคา (Indo-Gangetic Plain) และแม่น้ำสินธุ (Indus Valley)
                   เทือกเขาหิมาลัยเป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำที่สำคัญของอินเดีย 2 สายด้วยกัน ได้แก่ แม่น้ำสินธุ

                   และแม่น้ำคงคา โดยการละลายของธารน้ำแข็งในช่วงฤดูร้อนและฤดูใบไม้ผลิ แม่น้ำสินธุมีต้นน้ำ
                   อยู่ที่บริเวณที่ราบสูงทิเบต ไหลผ่านไปทางตะวันตกเฉียงเหนือผ่านแคว้นกัษมีระ (Kashmir)

                   และแคว้นปัญจาบ (Panjab) แล้วจึงไหลลงสู่ที่ต่ำทางตอนใต้ออกสู่ทะเลอาระเบียในที่สุด แม่น้ำ
                   สินธุถือเป็นแม่น้ำสายสำคัญของผู้คนในแถบประเทศปากีสถานในปัจจุบันนี้ เนื่องจากมันเป็น




                          2  Burjor Avari. India : The Ancient Past A history of the Indian sub-continent from c.7000 BC to AD 1200,
                   p. 6.
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18