Page 27 - คู่มือประหยัดไฟฟ้า
P. 27

กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม
               ระบบนิเวศเปลี่ยนแปลง



                      อุณหภูมิที่รอนขึ้นและฤดูกาลที่แปรปรวน ทำใหการสืบพันธุและการขยายพันธุของสัตวบางชนิดไดรับผลกระทบ
               และยังทำใหสัตวหลายชนิดตองสูญเสียแหลงอาหาร และตองใชพลังงานในการหาอาหารเพิ่มมากขึ้นดวย มีการประเมินวา
               แมเราจะควบคุมอุณหภูมิโลกไมใหเพิ่มขึ้นเกิน 2 องศาเซลเซียสได แตก็จะยังมีพืชและสัตวสูญพันธุไปแลวกวา 5 เปอรเซ็นต
               ของชนิดพันธุทั้งหมดบนโลก

                        หมีขั้วโลก


                        ธารน้ำแข็งในทวีปอารกติกซึ่งเปนบาน  นกเพนกวิน
                        ของหมีขั้วโลกกำลังละลาย ทำให
                        พวกมันเสี่ยงสูญพันธุไดในอนาคต  การละลายของน้ำแข็งอันเนื่องจากภาวะโลกรอน
                                                    สงผลใหนกเพนกวินตองวางไขอยูบนพื้นน้ำแข็ง
                                                    ที่บางกวาปกติ และมีความเสี่ยงที่จะแตกหักไดงาย
                                                    ซึ่งเปนอันตรายอยางมากตอไขนกเพนกวิน
                                                    นอกจากนี้ลูกนกเพนกวินที่ฟกออกจากไข
                                                    ตองเผชิญสภาพอากาศที่แปรปรวนรุนแรง
                                                    ทำใหลูกนกจำนวนมากเสียชีวิต










         กบ

         สภาพอากาศที่แปรปรวนจะสงผลกระทบตอวงจรชีวิตของกบ   เตาทะเล
         เชน การผสมพันธุ วางไข เพราะกบตองอาศัยแหลงน้ำเพื่อวางไข
         ดังนั้นการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของปริมาณน้ำฝนก็จะสงผลทำให
                                                  ระดับน้ำทะเลที่เพิ่มสูงขึ้นทำใหพื้นที่ชายหาด
         การสืบพันธุของกบลดลง รวมไปถึงอุณหภูมิที่รอนขึ้นยังทำให
                                                ซึ่งเปนแหลงวางไขของเตาทะเลลดลง นอกจากนี้
         บึงน้ำมีสภาพไมเหมาะสมสำหรับการเปนแหลงวางไข สงผลให
         ไขฝอ หรือลูกออดอาจตายได นอกจากนี้อากาศที่รอนและแหงแลง   อุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นยังทำใหลูกเตาทะเลที่ฟกออกมา
         ยังทำใหกบตองสูญเสียน้ำออกจากรางกายทางผิวหนังมากขึ้น  มีโอกาสจะเปนตัวเมียมากขึ้น
         กวาเดิม และทำใหกบมีโอกาสตายได
                                                         ชนิดพันธุ
                                                       ที่ไดรับผลกระทบ
                                                              มากที่สุด

                       ทวีปที่มีอัตราการสูญพันธุของสิ่งมีชีวิตมากที่สุด  สัตวสะเทินน้ำ
                ไดแก อันดับหนึ่ง อเมริกาใต (23%) อันดับสอง ออสเตรเลีย
                และนิวซีแลนด (13.9%) สาเหตุที่ทำใหสิ่งมีชีวิตที่อาศัย  สะเทินบก
                อยูในทวีปทั้ง 2 แหง เสี่ยงตอการสูญพันธุเพราะสิ่งมีชีวิต  สัตวเลื้อยคลาน
                เหลานี้ตองการถิ่นอาศัยที่มีลักษณะเฉพาะ   13%
                       ดังนั้นถาถิ่นอาศัยปจจุบันไมเหมาะสม ทั้งยังไมสามารถ  9%
                ปรับตัว หรืออพยพยายไปยังถิ่นที่อยูอาศัยที่เหมาะสมกวา
                ก็ทำใหเสี่ยงตอการสูญพันธุได





    26   โลกรอนเปนภัยใกลตัวกวาที่คิด
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32