Page 45 - 015
P. 45
เปิดโลกอัจฉริยะ SMART GRID 43
สรุป
เน่องจากในปัจจุบัน ระบบไฟฟ้ายังไม่ได้ถูกออกแบบให้รองรับ
ื
การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนและโรงไฟฟ้าขนาดเล็ก
(Distributed Generation: DG) และด้วยเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลง
อย่างรวดเร็ว ประกอบกับนโยบายที่แตกต่างกันของแต่ละประเทศ
ส่งผลให้การวางแผนพัฒนาระบบไฟฟ้ามีความซับซ้อน นอกจากน ี ้
�
ื
ั
่
ี
เน่องด้วยข้อจากัดในแต่ละพ้นท ท้งความน่าเช่อถือของระบบ
ื
ื
ิ
ี
และคุณภาพของพลังงานไฟฟ้า ความต้องการพลังงานไฟฟ้าท่เพ่ม
ึ
สูงข้น และทิศทางการไหลของพลังงานไฟฟ้าและข้อมูลแบบ
สองทิศทาง การวางแผนพัฒนาระบบสมาร์ทกริดท่ด จึงควรม ี
ี
ี
ั
ี
นโยบายและทิศทางท่ชดเจน เพ่อให้การพฒนาระบบโครงข่าย
ื
ั
สมาร์ทกริดเกิดประโยชน์สูงสุด
นอกจากนี้ แนวโน้มการพัฒนาพลังงานในอนาคต ก็มีส่วนส�าคัญ
ในการพัฒนาระบบสมาร์ทกริดเช่นเดียวกัน ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนา
ิ
ทางด้านเศรษฐกิจและสังคม การรักษาส่งแวดล้อมควบคู่ไปกับการ
ั
ื
พัฒนาด้านพลังงานอย่างย่งยืน การเช่อมโยงระบบไฟฟ้ากับประเทศ
ั
เพ่อนบ้าน (ASEAN Power Grid/GMS) รวมท้งทิศทางการพัฒนา
ื
ั
่
ั
ั
ั
ด้านพลงงานทงในและต่างประเทศ ล้วนเป็นปัจจยขบเคลอนหลก
ื
ั
้
ในการปรับปรงและพฒนาระบบไฟฟ้าให้เป็นระบบสมาร์ทกริด
ุ
ั
เพื่อให้สามารถรองรับการใช้งานด้านพลังงานได้ในอนาคต