Page 23 - 015
P. 23
เปิดโลกอัจฉริยะ SMART GRID 21
ระบบกักเก็บพลังงานมีต้งแต่ขนาดเล็กระดับเพียงไม่ก่วัตต์ ไปจนถึงขนาดใหญ่ระดับหลาย
ี
ั
เมกะวัตต์ ซ่งระบบกักเก็บพลังงานแต่ละประเภท มีบทบาทและวัตถุประสงค์ของการใช้งาน
ึ
ที่ต่างกัน ในสมาร์ทกริด ระบบกักเก็บพลังงานมี 2 รูปแบบหลัก คือ
ระบบกักเก็บพลังงานในรูปแบบของ
้
พลังงานศักย์ ได้แก่ โรงไฟฟ้าพลังนาแบบสูบกลับ
�
(Pumped Hydropower Plant) ถือเป็นประเภท
ท่มีการใช้งานมาเป็นระยะเวลานาน และยังเป็น
ี
ี
ี
ระบบกักเก็บพลังงานท่มีความจุรวมมากท่สุด
ในโลก ปัจจุบันประเทศไทยได้มีการใช้งานโรงไฟฟ้า
ประเภทนี้แล้ว คือ โรงไฟฟ้าล�าตะคองชลภาวัฒนา
ี
จังหวัดนครราชสีมา โดยในช่วงเวลาท่มีการผลิตไฟฟ้า
เกินกว่าความต้องการไฟฟ้า ระบบดังกล่าวจะใช้ไฟฟา
้
้
ส่วนเกินสูบนาจากอ่างเก็บนาลาตะคอง (อ่างล่าง)
�
�
้
�
ขึ้นไปเก็บไว้ชั่วคราวที่อ่างเก็บน�้าบนภูเขา (อ่างบน)
ื
ี
ิ
่
ซงห่างออกไปประมาณ 5 กโลเมตร เมอมความ
่
ึ
�
ต้องการใช้ไฟฟ้าจะปล่อยนาจากอ่างบนกลับสู่อ่างล่างผ่านกังหันนา เพ่อผลิตกระแสไฟฟ้าจ่ายกลับคืน
ื
้
�
้
ให้ระบบโครงข่ายไฟฟ้า
่
ี
ั
ระบบกักเก็บพลังงานในรูปแบบของพลังงานเคม หรือ แบตเตอร มีท้งแบบติดต้งอยู่กับท ่ ี
ั
ี
(Stationary Battery) และติดตั้งในยานพาหนะไฟฟ้า (Mobile Battery) ซึ่งแบตเตอรี่เป็นระบบ
กักเก็บพลังงานท่เติบโตอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน มีการพัฒนาและใช้งานเทคโนโลยีแบตเตอร ี ่
ี
ขนาดใหญ่ในการสนับสนุนระบบโครงข่ายไฟฟ้าและเพื่อรองรับยานยนต์ไฟฟ้า
ุ
ั
ี
ั
�
ั
ั
ิ
ี
ระบบกกเก็บพลงงานแบบต่าง ๆ มข้อดและข้อด้อยแตกต่างกนไป โดยมคณสมบตสาคญ
ี
ั
ท่ต้องพิจารณาในการเปรียบเทียบ เช่น พิกัดกาลัง ระยะเวลาในการจ่ายพลังงาน ประสิทธิภาพ
ี
�
ั
ในการชาร์จและจ่ายไฟฟ้า อายุการใช้งาน ราคาต่อความจุไฟฟ้า (เมกะวัตต์-ช่วโมง) ราคาต่อ
ก�าลังไฟฟ้า (เมกะวัตต์) เป็นต้น