Page 22 - GL014
P. 22
20
ระบบผลิตและจ�ำหน่ำยไฟฟ้ำจำกพลังงำนลมของ กฟผ.
กังหันลมผลิตไฟฟ้า บริเวณแหลมพรหมเทพ จังหวัดภูเก็ต
�
กฟผ. นากังหันลมสาหรับใช้ผลิตไฟฟ้ามา
�
ั
ติดต้งท่บริเวณแหลมพรหมเทพ จังหวัดภูเก็ต
ี
ี
เพ่อใช้เป็นสถานท่ทดลองการผลิตไฟฟ้าจาก
ื
กังหันลม ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2526 มีชื่อว่า “สถานี
ึ
พลังงานทดแทนพรหมเทพ” ซ่งจุดดังกล่าวเป็น
จุดที่ติดกับทะเลและเป็นพื้นที่สูง ได้รับอิทธิพล
จากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ และลมมรสุม
ตะวันตกเฉียงใต้เกือบตลอดท้งปี ความเร็วลม
ั
เฉลี่ยตลอดปีประมาณ 5 เมตรต่อวินาที จึงมีความเหมาะสมในการน�ามาผลิตกระแสไฟฟ้า
�
ในระยะแรก กฟผ. ได้นากังหันลมขนาดเล็กมาติดต้งทดสอบการใช้งานและเก็บข้อมูลนา �
ั
ไปวิเคราะห์พัฒนาการใช้งานกังหันลมให้มีความเหมาะสมกับความเร็วลมของประเทศไทย
ื
�
จนสามารถจ่ายกระแสไฟฟ้าเข้าสู่ระบบจาหน่ายได้เม่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2533 นับเป็น
ครั้งแรกในประเทศไทยที่สามารถน�าไฟฟ้าที่ผลิตได้จากพลังงานลมมาใช้งาน
กังหันลมผลิตไฟฟ้า บริเวณอ่างพักน�้า
ตอนบนโรงไฟฟ้าล�าตะคองชลภาวัฒนา
อ�าเภอสีคิ้ว จังหวัดนครราชสีมา
จากการเก็บสถิติความเร็วลมของ กฟผ.
เพ่อตรวจวัดศักยภาพพลังงานลมส�าหรับผลิต
ื
ไฟฟ้าทั่วประเทศมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 พบว่า
้
�
�
ท่บริเวณอ่างพักนาตอนบนของโรงไฟฟ้าลาตะคอง
ี
�
ชลภาวัฒนา อาเภอสีค้ว จังหวัดนครราชสีมา
ิ
มีศักยภาพพลังงานลมดีท่สุดแห่งหน่งของ
ึ
ี
ประเทศไทย มีลมพัดถึง 2 ช่วง คือช่วงฤด ู
ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ และลมมรสุม
ี
ั
ตะวันตกเฉียงใต้ มีความเร็วลมเฉล่ยท้งปี
ิ
ประมาณ 5 - 6 เมตรต่อวนาท ซงสามารถ
ี
่
ึ
น�ามาผลิตไฟฟ้าได้