Page 3 - GL001
P. 3

บทนำ







                  สถานการณปญหาหมอกควันของประเทศ
          เกิดข�้นเปนประจำทุกป ในชวงฤดูแลงเร�่มตั้งแตประมาณ
          เดือนธันวาคมจนถึงเดือนเมษายน ซึ่งตนกำเนิดที่สำคัญ คือ การเผา
          พ�้นที่เกษตรและไฟปา รวมทั้งหมอกควันขามแดนจากประเทศเพ�่อนบาน ไดสงผลกระทบ
          ตอเศรษฐกิจ สังคม และสิ�งแวดลอม เปนอยางมาก การแกไขปญหาหมอกควันจึงเปน
          ประเด็นที่รัฐบาลใหความสำคัญ หาแนวทางการแกไขมาอยางตอเนื่องและหลากหลายว�ธี
          ทั้งมาตรการเชิงควบคุมการเผาและมาตรการเชิงปองกัน
                  กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ�งแวดลอม ไดสั่งใหหนวยงานในสังกัดบูรณาการ
          การดำเนินงาน เพ�่อใหเกิดการบร�หารจัดการเชื้อเพลิงอยางมีประสิทธิภาพลดโอกาส
          เกิดไฟปาและการเผา ในพ�้นที่ 17 จังหวัดภาคเหนือ และ 3 จังหวัดภาคตะวันออก
          เฉียงเหนือ ในป พ.ศ. 2564 ในโครงการ "ชิงเก็บ" เก็บขนเชื้อเพลิงออกจาก พ�้นที่ปา
          เพ�่อนำไปใชประโยชนและสรางมูลคา การบร�หารจัดการไฟปา และการบูรณาการ
          ความรวมมือในการดำเนินงานเพ�่อใหเกิดการบร�หารจัดการหมอกควันไฟปาอยางมี
          ประสิทธิภาพ "ลดเผา" ลดโอกาสเกิดไฟปาและการเผา อันจะนำไปสูการบรรเทา
          ความรุนแรงของสถานการณฝุนละอองในพ�้นที่ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                  กรมสงเสร�มคุณภาพสิ�งแวดลอม จึงไดรวบรวมขอมูลและจัดทำหนังสือ ชิงเก็บ ลดเผา
          ทางเลือกใหมแกไขปญหาการเผาในที่โลงและหมอกควัน ดวยรูปแบบการสื่อสารอยางงาย
          เพ�่อสรางความรู ความเขาใจ และความตระหนักในการปองกันและเตร�ยมการเฝาระวัง
          ปญหาการเผาในที่โลงและหมอกควัน ใหกับประชาชน



                              กรมสงเสร�มคุณภาพสิ�งแวดลอม
   1   2   3   4   5   6   7   8